บูรณาการ
เทคโนโลยี
ภาษาอังกฤษ
ภาษาไทย
สังคมศึกษา
วันจันทร์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2559
อาชีพในฝัน
พยาบาล
เพราะว่าฉันชอบเรียนเกี่ยวกับวิชาชีววิทยา การทำงานของร่างกาย การผ่าทดลองสิ่งต่างๆ ชอบที่จะรักษาคน และอยากทำงานที่สามารถช่วยผู้คนได้ และสามารถรักษาคนใกล้ตัวหรือคนที่เรารักได้ การเป็นพยาบาลถือเป็นอาชีพที่ฉันใฝ่ฝันไว้ว่าต้องเป็นให้ได้
วันเสาร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2559
โรคดาวน์ซินโดรม
โรคดาวน์ซิน
โดรม
(Down’s syndrome หรือ Down syndrome) หรือที่มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า กลุ่มอาการดาวน์ คือการเกิดความผิดปกติของสารพันธุกรรมที่เป็นมาตั้งแต่กำเนิด และเป็นโรคไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้เนื่องจากสาเหตุของโรคนั้นเกิดขึ้นจากคว
อ่านเพิ่มเติม
โรคผิวเผือก
เกิดจากข้อบกพร่องทางทางพันธุกรรม เนื่องจากความผิดปกติของยีน ที่ทำหน้าที่ควบคุม การสร้างเม็ดสีเมลานินในอวัยวะต่างๆ ทำให้ร่างกายไม่สามารถผลิตเม็ดสีเมลานินออกมาได้ คนที่เป็นโรคเผือกจึงมีผิวขาว ผมสีขาว ตาสีขาว ม่านตาสีเท
อ่านเพิ่มเติม
โรคธาลัสซีเมีย
ธาลัสซีเมีย (
Thalassemia)
เป็นโรคโลหิตจางที่มีสาเหตุจากความผิดปกติทางพันธุกรรมระดับยีน ทำให้การสร้างฮีโมโกบิล (
Hemoglobin; Hb)
ซึ่งเป็นโปรตีนที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของเม็ดเลือดแดงผิดปกติ ส่งผลให้เม็ดเลือดแดงมีอายุสั้น แตกง่าย ถูกทำลา
อ่านเพิ่มเติม
โรคดักแด้
โรคดักแด้ หรือ Epidermolysis Bullosa (EB)
เป็นโรคที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ เกิดจากความผิดปกติของยีนที่ควบคุมการสร้างผิวหนัง หากมีคุณพ่อคุณแม่ หรือมีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคนี้มาก่อน ก็สามารถ่ายทอดผ่านทางยีนเด่น (Autosomal dominant) มาสู่ลูกได้
1. Epldermolysis bullosa simplex : เป็นความผิ
อ่านเพิ่มเติม
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรัง และก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพ ก่อให้เกิดปัญหากับ ฟันและเหงือก ตา ไต หัวใจ หลอดเลือดแดง ท่านผู้อ่านสามารถป้องกันโรคแทรกซ้อนต่างๆได้ โดยการปรับ อาหาร การออกกำลังกาย และยาให้เหมาะสม ท่านผู้อ่านสามารถนำข้อเสนอแน
อ่านเพิ่มเติม
โรคเลือดออกไหลไม่หยุด
โรคฮีโมฟิเลีย คือโรคเลือดออกไหลไม่หยุด หรือ เลือดออกง่ายหยุดยาก เป็นโรคทางพันธุกรรมที่ทำให้เลือดแข็งตัวช้าผิดปกติ ที่พบบ่อยมี 3 ชนิด ได้แก่
1.ฮีโมฟิเลีย เอ เกิดจากการขาดปัจจัยการแข็งตัวของเลือด (factor
VIII
) และมีการถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบ X-linked recessive
2. ฮีโมฟิเลีย บี เกิดจากการขาดปัจจัยการแข็งตัวของเลือด (factor IX) และมีกา
อ่านเพิ่มเติม
บทความที่เก่ากว่า
หน้าแรก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)